ฟังก์ชันขั้นบันได คือฟังก์ชันบนจำนวนจริงซึ่งเกิดจากการรวมกันระหว่างฟังก์ชันคงตัวจากโดเมนที่แบ่งออกเป็นช่วงหลายช่วง กราฟของฟังก์ชันจะมีลักษณะเป็นส่วนของเส้นตรงหรือรังสีในแนวราบเป็นท่อน
ๆ ตามช่วง ในระดับความสูงต่างกัน อ่านเพิ่มเติม
วันพุธที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
ฟังก์ชันค่าสมบูรณ์
ค่า absolute ของ x ให้ระยะห่างระหว่าง x และ 0 เป็นบวกหรือศูนย์เสมอตัวอย่างเช่น|3| = 3,
|-3| = 3, |0|=0. | 3 | = 3, | -3 | = 3 | 0 | = 0
โดเมนของฟังก์ชันค่าสมบูรณ์คือ R ทั้งเส้นของจริงในขณะที่ช่วงคือช่วง [0, ∞)
ฟังก์ชันค่าสมบูรณ์สามารถอธิบายกฎ อ่านเพิ่มเติม
โดเมนของฟังก์ชันค่าสมบูรณ์คือ R ทั้งเส้นของจริงในขณะที่ช่วงคือช่วง [0, ∞)
ฟังก์ชันค่าสมบูรณ์สามารถอธิบายกฎ อ่านเพิ่มเติม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเซียล
เรียก an ว่า เลขยกกำลัง เรียก a ว่าฐานของเลขยกกำลัง และ เรียก n ว่าเลขชี้กำลัง
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม มีสมบัติตามทฤษฎีบทต่อไปนี้ อ่านเพิ่มเติม
ฟังก์ชันกำลังสอง
กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง มีชื่อเรียกว่า พาราโบลา ซึ่งลักษณะของกราฟของฟังก์ชันขึ้นอยู่กับค่าของ a ,
b และ c และเมื่อ
a เป็นบวกหรือลบ จะทำให้ได้กราฟเป็นเส้นโค้งหงายหรือคว่ำ และกราฟของฟังก์ชันกำลังสองที่กำหนดด้วยสมการ
y = ax^2 เมื่อ a ไม่เท่ากับ 0
เมื่อ a >
0 และชนิดคว่ำ อ่านเพิ่มเติม
ฟังก์ชันเชิงเส้น
คือ ฟังก์ชั่นที่อยู่ในรูป f(x) = ax+b เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริงเช่น f(x) =
2x+1
f(x) = -3x f(x) = x-5 เป็นต้น กราฟของฟังก์ชั่นเหล่านี้เป็นเส้นตรงที่ไม่ขนานกับแกน ฟังก์ชั่นเชิงเส้น f(x) = ax+b เมื่อ a=0 จะได้ฟังก์ชั่นอยู่ในรูป f(x) = b ฟังก์ชั่นนี้มีชื่อเรียกเฉพาะว่า ‘‘ ฟังก์ชั่นคงตัว ’’ (Constant function) กราฟของฟังก์ชั่นคงตัวจะเป็นเส้นตรงที่ขนานกับแกน x เช่น f(x) = 4 , f(x) = -2 เป็นต้น อ่านเพิ่มเติม
f(x) = -3x f(x) = x-5 เป็นต้น กราฟของฟังก์ชั่นเหล่านี้เป็นเส้นตรงที่ไม่ขนานกับแกน ฟังก์ชั่นเชิงเส้น f(x) = ax+b เมื่อ a=0 จะได้ฟังก์ชั่นอยู่ในรูป f(x) = b ฟังก์ชั่นนี้มีชื่อเรียกเฉพาะว่า ‘‘ ฟังก์ชั่นคงตัว ’’ (Constant function) กราฟของฟังก์ชั่นคงตัวจะเป็นเส้นตรงที่ขนานกับแกน x เช่น f(x) = 4 , f(x) = -2 เป็นต้น อ่านเพิ่มเติม
ฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์ จาก เซต หนึ่ง (โดเมน) ไปยังอีกเซตหนึ่ง (โคโดเมน ไม่ใช่ เรนจ์) โดยที่สมาชิกตัวหน้าไม่ซ้ำกัน ความคิดรวบยอดของฟังก์ชันนี้เป็นพื้นฐานของทุกสาขาของคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เชิงปริมาณ อ่านเพิ่มเติม
โดเมนและเรนจ์
เซตของสมาชิกตัวหน้าในคู่อันดับของ r1 = {1,2,3,4} เรียกเซตนี้ว่า โดเมนของ r1
เซตของสมาชิกตัวหลังในคู่อันดับของ r1 = {2,3,4,5} เรียกเซตนี้ว่า เรนจ์ของ r1
ส่วนใน r2 จะเห็นว่าโดเมนของ r2 เท่ากับเรนจ์ของ r2 คือเซตของจำนวนเต็ม อ่านเพิ่มเติม
เซตของสมาชิกตัวหลังในคู่อันดับของ r1 = {2,3,4,5} เรียกเซตนี้ว่า เรนจ์ของ r1
ส่วนใน r2 จะเห็นว่าโดเมนของ r2 เท่ากับเรนจ์ของ r2 คือเซตของจำนวนเต็ม อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)